「新住民全球新聞網」根據「新住民子女教育資訊網」報導,泰國是農業大國,也是世界食品重要出口國,以農業為經濟基礎,使食品工業成為泰國經濟重要支柱。
[เว็บไซต์ข่าวรอบโลกสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่] ตามรายงานของ “เว็บไซต์ข้อมูลการศึกษาสำหรับเด็กผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่” ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมขนาดใหญ่และเป็นผู้ส่งออกอาหารที่สำคัญของโลก เนื่องด้วยการเกษตรเป็นรากฐานทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมอาหารจึงกลายเป็นเสาหลักที่สำคัญของเศรษฐกิจไทย
近年來泰國政府積極推廣旅遊,標榜泰國成為「世界廚房(Kitchen of the World)」的願景。
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา รัฐบาลไทยได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างแข็งขันและได้มีการโฆษณาวิสัยทัศน์ของประเทศไทยในการเป็น “ครัวของโลก” (Kitchen of the World)
泰國目前位居亞洲第二大食品出口圈,也是東南亞及全球食品交易的重要平臺。
ปัจจุบันประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชีย นอกจากนี้ยังเป็นแพลตฟอร์มที่สำคัญสำหรับเรื่องการส่งออกอาหารในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทั่วโลกด้วย
其中稻米出口量位居世界第一,魚產品出口量在亞洲僅次於日本,而新開發的水產品、畜產品、水果、蔬菜及花卉植物等,已日益成為泰國農業的重要支柱。
หนึ่งในนั้นคือปริมาณการส่งออกข้าวได้กลายเป็นอันดับหนึ่งในโลกไปเรียบร้อยและปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ปลายังครองอันดับสองในเอเชียรองจากประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น ส่วนผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ผลไม้ ผัก ดอกไม้ และพืช ก็ได้กลายเป็นเสาหลักของการเกษตรไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ เช่นกัน
泰國也是亞洲第三大海洋捕魚國。
ประเทศไทยยังเป็นประเทศประมงทะเลที่ใหญ่เป็นอันดับสามในเอเชียอีกด้วย
อ่านข่าวเพิ่มเติม:台灣人權促進會秘書長施逸翔 為外籍移工、漁工和難民的權益保障 คุณซืออี๋เสียง เลขาธิการสมาคมไต้หวันเพื่อสิทธิมนุษยชน ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างชาติ ลูกเรือประมง ผู้ลี้ภัย
在水果罐頭和蔬菜市場方面,泰國也取得了令人矚目的成就,其中,泰國鳳梨罐頭已佔據當今世界市場的35%。
สำหรับตลาดผักและผลไม้กระป๋องของประเทศไทยก็ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ในจำนวนนี้ สับปะรดกระป๋องของประเทศไทยคิดเป็น 35% ของตลาดโลกในปัจจุบันด้วย
鳳梨罐頭曾是台灣出口的驕傲,後因農村人口流向都市,工資上揚,鳳梨罐頭的版圖中,逐漸被東南亞國家取代,但是台灣積極投入品種育成和改良,近十年來鳳梨酥因而蓬勃發展。
สับปะรดกระป๋องเคยเป็นความภาคภูมิใจของการส่งออกของไต้หวัน ต่อมาเนื่องจากการประชากรในชนบทมีการย้ายถิ่นเข้าไปอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ อีกทั้งค่าแรงที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้สับปะรดกระป๋องค่อย ๆ ถูกแทนที่โดยประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตาม ไต้หวันได้ลงทุนในเรื่องการเพาะพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์อย่างแข็งขัน และเค้กสับปะรดไต้หวันได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในช่วงสิบปีที่ผ่านมา
台灣與泰國雙邊經貿關係密切且悠久,除了貿易、投資活動以外,在勞工、教育、觀光、文化交流等眾多領域,也長期互動與合作,未來更要推動雙方產業深化、加強技術合作,建構更多生態產業,創造互惠互利、共榮的目標。
ไต้หวันและไทยมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าที่ใกล้ชิดแนบแน่นมาอย่างยาวนาน นอกจากเรื่องการค้าและการลงทุนแล้ว ยังมีปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือในรูปแบบระยะยาวในด้านอื่น เช่น แรงงาน การศึกษา การท่องเที่ยว และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม เพื่อสร้างอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้มากขึ้น ตลอดจนสร้างเป้าหมายและความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน