「新住民全球新聞網」根據「新住民子女教育資訊網」報導,班清遺址位於泰國的烏隆府班清地區,其出土文物以地命名,並於1992年聯合國教科文組織列入世界遺產。
[เว็บไซต์ข่าวรอบโลกสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่] ตามรายงานของ “เว็บไซต์ข้อมูลการศึกษาสำหรับเด็กผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่” แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง อยู่ที่ตำบลบ้านเชียง (ในเขตเทศบาลตำบลบ้านเชียง) อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี โบราณวัตถุทางวัฒนธรรมที่ขุดพบได้รับการตั้งชื่อตามสถานที่ และในปี ค.ศ. 1992 ยูเนสโก (UNESCO) ขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก
展廳裡有大量陶器、青銅器以及鐵器,時間從距今約5600年前到1800年前,從新石器時代晚期,經青銅器時代到鐵器時代。
ในห้องนิทรรศการมีเครื่องปั้นดินเผา สำริด และเครื่องมือเหล็กจำนวนมาก โดยมีระยะเวลาห่างจากในช่วงปัจจุบันประมาณ 5600 ปีถึง 1800 ปีก่อน ซึ่งเริ่มจากยุคหินใหม่ตอนปลาย ยุคสำริด จนถึงยุคเหล็ก
證明東南亞佛教文化和印度教文化活躍之前的史前時期,班清確實存在過一段文明期。
เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่พิสูจน์ว่า ในยุคก่อนประวัติศาสตร์วัฒนธรรมพุทธและฮินดูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เกิดขึ้นมาก่อนแล้ว และบ้านเชียงเองก็เคยอยู่ในช่วงเวลาแห่งอารยธรรมอย่างแท้จริง
班清文化中最引人注目的是青銅製品,約在西元前2000年,班清一帶的居民已經掌握了青銅冶煉技術,能製作日常用品長柄勺與各種精緻的青銅手鐲、戒指、項鍊等。
สิ่งที่โดดเด่นที่สุดในวัฒนธรรมบ้านเชียง คือ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากทองสัมฤทธิ์ ในช่วงประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวบ้านในพื้นที่บ้านเชียงได้เรียนรู้เทคโนโลยีการถลุงทองสัมฤทธิ์และสามารถผลิตช้อนด้ามยาว ตลอดจนกำไลทองสัมฤทธิ์ที่สวยงาม เช่น แหวน สร้อยคอ ฯลฯ ได้อย่างมากมาย
อ่านข่าวเพิ่มเติม:台灣人權促進會秘書長施逸翔 為外籍移工、漁工和難民的權益保障 คุณซืออี๋เสียง เลขาธิการสมาคมไต้หวันเพื่อสิทธิมนุษยชน ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างชาติ ลูกเรือประมง ผู้ลี้ภัย
班清遺址中出土有眾多形狀不一的陶器,在淺黃的底色上,繪著深紅色的圖案。
นอกจากนี้ ยังมีเครื่องปั้นดินเผารูปทรงต่าง ๆ มากมายที่ขุดพบในพื้นที่บ้านเชียง ซึ่งลักษณะเด่นคือการทาสีด้วยลวดลายสีแดงเข้มบนพื้นหลังสีเหลืองอ่อน
最耀眼的展品莫過於大量裝飾著波紋線條的陶罐,在暗黃色的陶器上,有深紅色的線條,簡潔流暢,卻又形狀不一,顯示高超的冶煉加工技藝,這種紅彩陶是班清文化最具代表的文物。
ที่จัดแสดงที่ตระการตาที่สุด คือ ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาจำนวนมากตกแต่งด้วยลายเส้นสีแดงเข้มที่ต่อเนื่องไม่ขาดช่วงและแทรกด้วยลวดลายอิสระบนเครื่องปั้นดินเผาสีเหลืองเข้ม เป็นการตกแต่งอย่างเรียบง่าย แต่มีรูปร่างต่างกัน แสดงให้เห็นถึงฝีมือการถลุงและแปรรูปที่ยอดเยี่ยม ฉะนั้นเครื่องปั้นดินเผาทาสีแดงนี้ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของวัฒนธรรมบ้านเชียง