:::

雙語新聞--泰國寫信文化วัฒนธรรมการเขียนจดหมายไทย

泰國寫信文化。วัฒนธรรมการเขียนจดหมายไทย (ภาพจาก/Pixabay)
泰國寫信文化。วัฒนธรรมการเขียนจดหมายไทย (ภาพจาก/Pixabay)
เว็บไซต์ข่าวรอบโลกสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่】ผู้แปลและเรียบเรียง/นงค์รักษ์ เหล่ากอคำ (李慧毓)

新住民全球新聞網」根據「新住民子女教育資訊網」報導,書信是人際聯絡感情、互通消息,也是一種傳遞音訊、表達情意的應用文書。

[เว็บไซต์ข่าวรอบโลกสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่] ตามรายงานของ “เว็บไซต์ข้อมูลการศึกษาสำหรับเด็กผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่” คนในสมัยก่อนจะใช้จดหมายในการสื่อสารบอกเล่าความรู้สึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ ระหว่างบุคคล นอกจากนี้ยังเป็นเอกสารที่ใช้ในการส่งสารสำคัญ ตลอดจนเป็นจดหมายบอกรัก

寫信的對象不同,使用的詞句、用語也就不同,認清了對象之後,溝通才會得體,泰國是一個非常注重禮節的國家,所以寫信的格式也要特別注意。

วัตถุการเขียนจดหมายที่แตกต่างกันก็จะมีการใช้คำและวลีที่ต่างกันออกไป หลังจากที่คุณรู้ว่าฝ่ายตรงข้ามที่คุณจะส่งหามีสถานะเป็นอะไรแล้ว คุณจะสามารถสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ประเทศไทยเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับมารยาทมาก ดังนั้น คุณควรให้ความสนใจเป็นพิเศษกับรูปแบบของจดหมาย

อ่านข่าวเพิ่มเติม: 內政部舉行移民署移民班第9期學員結訓典禮 學員徐秀美分享自己的報考故事 สตม.ไต้หวัน จัดพิธีจบการฝึกอบรมวิชาผู้ตั้งถิ่นฐานครั้งที่ 9 สวี่ซิ่วเหม่ยผู้เข้ารับการฝึกอบรมในครั้งนี้ แบ่งปันเรื่องราวการสมัครสอบของตน

一開始是書寫開首敬詞及收信人的名字和稱謂,請特別注意泰文書信開頭的稱呼後面不要加冒號喔!

โดยตอนต้นให้เขียนคำนำหน้าชื่อและชื่อผู้รับ ซึ่งตรงจุดนี้ท่านต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะระหว่างคำนำหน้าชื่อและชื่อของผู้รับจะไม่ใส่เครื่องหมายทวิภาคเด็ดขาด !

接下來進入到正文部分,「正文」就是我們寫這封信的主要内容,這是一封信能否表達情意的關鍵,所以要寫得具體明確,符合情理。

ต่อมาเราจะมาดูส่วนของ “ข้อความ” เป็นเนื้อหาหลักของจดหมายที่เราต้องการเขียน ซึ่งถือเป็นกุญแจสำคัญมาก เพราะการที่จดหมายฉบับหนึ่งจะสามารถแสดงออกถึงความรู้สึกที่ต้องการสื่อได้หรือไม่นั้น จำเป็นต้องเขียนในลักษณะที่เฉพาะเจาะจง ชัดเจน และสมเหตุสมผล

最後是結尾的部分,可以遵循「局部居中」這樣一個原則。

สุดท้าย คือ ส่วนท้ายของจดหมาย ซึ่งสามารถเขียนไปตามหลักการของ “ศูนย์กลางท้องถิ่น” ที่ใช้กันโดยทั่วไป

อ่านข่าวเพิ่มเติม:台灣人權促進會秘書長施逸翔 為外籍移工、漁工和難民的權益保障 คุณซืออี๋เสียง เลขาธิการสมาคมไต้หวันเพื่อสิทธิมนุษยชน ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างชาติ ลูกเรือประมง ผู้ลี้ภัย

第一行是幾乎每封書信都會寫的「祝頌語」,也會因對象而異,例如:下對上的「至此敬禮」,或是課文中對親人的「愛與思念」;第二行是寄件者的簽名,一定要是手寫哦!注意落款時間的順序,是先從日到月再到年,別弄反了喔!

โดยบรรทัดแรกจะเขียน “คำยินดี” ซึ่งเกือบทุกฉบับจะเขียนเช่นนี้ แต่จะใช้คำที่แตกต่างกันออกไปตามวัตถุ เช่น การเขียนจดหมายถึงผู้ใหญ่ จะใช้ข้อความว่า “ด้วยความเคารพเป็นอย่างสูง” หรือการเขียนจดหมายถึงญาติทางบ้าน จะใช้ข้อความว่า “ด้วยรักและคิดถึง” ส่วนบรรทัดที่สอง จะเป็นลายเซ็นของผู้ส่ง โดยจะต้องเขียนด้วยลายมือเท่านั้น และสุดท้ายต้องระวังเกี่ยวกับเรื่องการเขียนวันเวลาให้ดี ซึ่งลำดับของเวลาที่ลงนามจะเขียน วัน เดือน ปี ตามลำดับ อย่าสับสนหรือสลับกันนะคะ!

อ่านข่าวเพิ่มเติม

มาเป็นคนแรกที่แสดงความคิดเห็น

ข่าวเด่นประเด็นร้อน

ข่าวล่าสุด 最新消息icon
回到頁首icon
Loading