「新住民全球新聞網」根據「新住民子女教育資訊網」報導,泰國在1939年之前的國名是「暹邏」,至今泰國仍有一些機構以暹邏(Siam)命名、如Siam station,是整個曼谷大眾運輸系統裡最大及最繁忙的轉運車站,又如Siam Square One是曼谷有名的綠建築,整體建築具未來感,半開放式的空間,高挑的設計,配上許多植栽,讓人在建築內部也感受到涼爽。
[เว็บไซต์ข่าวรอบโลกสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่] ตามรายงานของ “เว็บไซต์ข้อมูลการศึกษาสำหรับเด็กผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่” ชื่อประเทศของไทยก่อนปี พ.ศ. 2482 คือ “สยาม” และยังมีบางสถาบันในไทยยังคงตั้งชื่อตามสยาม เช่น สถานีสยาม ซึ่งเป็นสถานีขนส่งที่ใหญ่ที่สุดและมีผู้คนพลุกพล่านที่สุดในระบบการขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีสยามสแควร์วัน อาคารสีเขียวชื่อดังในกรุงเทพฯ โดยรวมแล้วเป็นอาคารล้ำยุคด้วยพื้นที่กึ่งเปิดโล่ง ดีไซน์สูง และพันธุ์ไม้นานาชนิด ทำให้ภายในตัวอาคารรู้สึกเย็นสบาย
曼谷是泰國首都與最大城市,位於昭披耶河東岸,是全國的政治、 經濟、文化、交通中心,泰國人稱為「กรุงเทพฯ」,意思是「天使之城」。
กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการคมนาคมขนส่งของประเทศ คนไทยเรียกว่า “กรุงเทพฯ” ซึ่งหมายถึง “เมืองของเทวดา”
市內有9座拱橋跨昭披耶河,其中以「拉瑪一世王橋」最著名。
ในเมืองมีสะพานที่ทอดยาวข้ามแม่น้ำเจ้าพระยามากถึง 9 แห่ง โดยหนึ่งในนั้นคือ “สะพานพุทธยอดฟ้า (Phra Phuttha Yodfa Bridge) หรือสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (Memorial Bridge)” เป็นสะพานที่มีชื่อเสียงที่สุดในกรุงเทพฯ
根據泰國人的信仰,國王居住的宮殿是「宇宙的中心」,所以曼谷的建設是以皇宮為中心向外擴散,第一圈是寺廟和官方建築,第二圈是商業圈,第三圈是住宅區。
ตามความเชื่อของคนไทย วังที่พระมหากษัตริย์ทรงประทับอยู่ถือเป็น “ศูนย์กลางจักรวาล” ดังนั้นการก่อสร้างกรุงเทพมหานครจึงเน้นที่พระราชวังและแผ่ออกไปด้านนอก วงรอบแรกคือวัดและอาคารราชการ วงรอบที่ 2 คือ ย่านธุรกิจ และวงรอบที่ 3 เป็นเขตที่อยู่อาศัยของราษฎร
王宮和佛寺大多建在昭披耶河圈,建築金碧輝煌,金黃色的塔尖是泰式建築的特色。
พระราชวังและวัดในศาสนาพุทธส่วนใหญ่สร้างขึ้นในวงรอบแถบแม่น้ำเจ้าพระยา อาคารมีความวิจิตรงดงามและมียอดแหลมสีทองเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมไทยอย่างเห็นได้ชัด
อ่านข่าวเพิ่มเติม:台灣人權促進會秘書長施逸翔 為外籍移工、漁工和難民的權益保障 คุณซืออี๋เสียง เลขาธิการสมาคมไต้หวันเพื่อสิทธิมนุษยชน ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างชาติ ลูกเรือประมง ผู้ลี้ภัย
全市共有400多座佛寺,將忙碌的商業活動與謙和的居民生活,還有西洋現代大樓與東方文化傳統巧妙地結合在一起。
ในเมืองมีวัดทางพุทธศาสนามากกว่า 400 แห่ง กิจกรรมเชิงพาณิชย์ที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายถูกนำมาผสมผสานไว้กับวิถีชีวิตที่เรียบง่ายของผู้คน ตลอดจนอาคารสมัยใหม่แบบตะวันตกและประเพณีวัฒนธรรมตะวันออกก็ปะปนเข้ากันได้อย่างลงตัว