「新住民全球新聞網」根據「新住民子女教育資訊網」報導,泰國的婚禮分為兩種形式,一種是泰式的,一種是西式的,現在已經有越來越多人選擇泰西合併的方式。
[เว็บไซต์ข่าวรอบโลกสำหรับผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่] ตามรายงานของ “เว็บไซต์ข้อมูลการศึกษาสำหรับเด็กผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่” งานแต่งงานในประเทศไทยมี 2 ประเภท แบบแรกเป็นแบบไทย อีกแบบเป็นแบบตะวันตก ปัจจุบัน ผู้คนจำนวนมากเลือกวิธีการผสมผสานระหว่างไทยและตะวันตก
泰式婚禮舉辦地點是在女方家中,女方在家中客廳男方要準備甘蔗和芭蕉樹到女方家,甘蔗代表節節高升,芭蕉代表花開富貴。
สถานที่จัดงานแต่งงานแบบไทยคือบ้านของฝ่ายหญิง โดยจะจัดพิธีต่าง ๆ ในห้องนั่งเล่นของบ้านฝ่ายหญิง ฝ่ายชายจะแห่งขบวนขันหมากที่มีต้นอ้อยและต้นกล้วยมายังบ้านฝ่ายหญิง
婚禮上,新郎、新娘穿著傳統服裝坐在椅子上,由長者輪流向他們施「灑水禮」:以水器盛水,徐徐淋在新人合十的雙手上,之後為新人放上白繩,還要說吉祥話來放置以芭蕉葉做成高聳花臺(一般來說是奇數,最好是九層)、象徵未來新人組成的家庭會越來越興旺。 祝福新人婚姻幸福美滿。
ในงานแต่งงาน เจ้าบ่าวและเจ้าสาวนั่งบนเก้าอี้ในชุดไทย และผู้อาวุโสผลัดกันมาทำ “พิธีรดน้ำสังข์ หรือ พิธีหลั่งน้ำพระพุทธมนต์และประสาทพร” ใช้หอยสังข์เติมน้ำให้เต็ม จากนั้นค่อย ๆ รดลงไปบนมือที่พนมไว้ของทั้งสอง ต่อด้วยการผูกข้อต่อแขน พร้อมกับกล่าวคำมงคลอวยพรให้ทั้งคู่ โดยแท่นวางดอกไม้ที่ลองน้ำสังข์อันสูงตระหง่านนั้นส่วนใหญ่ทำจากใบตอง (ซึ่งมักจะทำเป็นเลขคี่ ถ้าจะให้ดีที่สุดคือเลขเก้า) เป็นสัญลักษณ์ว่าครอบครัวใหม่จะเจริญรุ่งเรืองมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต ตลอดจนขอให้คู่บ่าวสาวมีความสุขในการแต่งงาน
อ่านข่าวเพิ่มเติม:台灣人權促進會秘書長施逸翔 為外籍移工、漁工和難民的權益保障 คุณซืออี๋เสียง เลขาธิการสมาคมไต้หวันเพื่อสิทธิมนุษยชน ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนของแรงงานต่างชาติ ลูกเรือประมง ผู้ลี้ภัย
在泰國,不論貧富,都會盡全力將婚禮辦得熱鬧非凡,想將結婚的喜悅傳達給所有人,賓客也會互相綁上白繩,彼此祝福。
ในประเทศไทย ไม่ว่าจะรวยหรือจน เจ้าภาพก็จะพยายามจัดงานแต่งงานให้มีชีวิตชีวา รื่นเริงมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะพวกเขาต้องการถ่ายทอดพลังแห่งความสุขจากการแต่งงานให้กับแขกผู้มีเกียรติทุกคนที่มาร่วมงาน และแขกมีเกียรติทุกคนก็จะผูกข้อต่อแขนอวยพรให้กับคู่บ่าวสาวด้วยเช่นกัน